Connect to DB
..........................หัวข้อ “ ความคิดเห็นของประชาชน กทม. กับการปรับโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ”
..........................วัตถุประสงค์ของการสำรวจ :
............................... ..... การสำรวจความคิดเห็นครั้งนี้ เพื่อต้องการทราบความคิดเห็นของประชาชน กทม. ภายหลังจากมีการปรับ
..........................โครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม ในประเด็นความพึงพอใจต่อการให้บริการประชาชนของหน่วยงานราชการ
..........................การปราบปรามคอรัปชั่น การการแก้ไขระบบอุปถัมภ์ ความสะดวกในการติดต่อราชการ และการเป็นฐานเสียงทาง
..........................การเมือง ตลอดจนผลงานของกระทรวงที่ประชาชนพึงพอใจมากที่สุด
..........................ระเบียบวิธีการสำรวจ
..........................การสุ่มตัวอย่าง : ..การสำรวจใช้วิธีสุ่มตัวอย่างประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในเขตปกครองของกรุงเทพมหานคร
............................... ..... ..... ...... ..... เทคนิคการสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Sampling) กล่าวคือ
............................... ..... ..... ..... .......ขั้นแรก แบ่งเขตปกครองกรุงเทพมหานครเป็น เขตชั้นใน ชั้นกลาง และชั้นนอก
............................... .................. ..... ..... .......หลังจากนั้นสุ่มเขตปกครองในแต่ละชั้น ได้เขตต่าง ๆ จำนวน 35 เขต ดังนี้
............................... ..... ..... .................. .......ป้อมปรามฯ ปทุมวัน ราชเทวี พญาไท สาทร ยานนาวา คลองเตย บางกะปิ บึงกุ่ม พระโขนง
............................................ ..... ..... ..... .......ลาดพร้าว วัฒนา สวนหลวง วังทองหลาง สะพานสูง บางเขน ประเวศ บางนา คันนายาว
............................... ..... .................. ..... .......บางแค ดอนเมือง ทุ่งครุ ธนบุรี ราษฎร์บูรณะ บางกอกน้อย บางพลัด บางซื่อ จตุจักร สายไหม
............................... .................. ..... ..... .......คลองสาน ภาษีเจริญ ลาดกระบัง มีนบุรี บางขุนเทียน จอมทอง
............................... ..... ..... ..... .......ขั้นที่สอง จากแต่ละเขตที่สุ่มได้ สุ่มถนน ซอย และที่อยู่อาศัย
............................... ..... ..... ..... .......ขั้นที่สาม สุ่มประชากรเป้าหมายที่จะสัมภาษณ์ ได้ตัวอย่างทั้งสิ้นจำนวน 1,365 คน
..........................ความคลาดเคลื่อน (Margin of Error) : ในการประมาณการขนาดตัวอย่างใช้ความคลาดเคลื่อน +- 5 % ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
..........................วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล : การเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม และสัมภาษณ์ความคิดเห็นของประชากรเป้าหมายที่สุ่มได้
............................................. ..... ..... ..... .ในเรื่อง "ความคิดเห็นของประชาชน กทม. กับการปรับโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม"
..........................ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล : 2 - 5 พฤษภาคม 2546
..........................วันที่เผยแพร่ข้อมูล : 8 พฤษภาคม 2546
..........................สำรวจโดย : ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776  http://research.bu.ac.th
..........................สรุปผลการสำรวจ
..........................1. ..การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีสำรวจภาคสนาม ผู้ตอบแบบสอบถามอายุ 18 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ใน เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,365 คน
................................เป็นชายร้อยละ 49.8
............................... เป็นหญิงร้อยละ 50.2
............................... กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 23.4 มีอายุระหว่าง 18 – 25 ปี
............................... ร้อยละ 31.7 มีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี
............................... ร้อยละ 30.0 มีอายุระหว่าง 36 – 45 ปี
............................... และร้อยละ 14.9 มีอายุ 45 ปีขึ้นไป
............................... สำหรับระดับการศึกษาของ
............................... กลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 54.1 มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี
............................... ที่เหลือ ร้อยละ 45.9 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
............................... ค้าขาย นักศึกษา เจ้าของกิจการ รับจ้างทั่วไป รับราชการ พ่อบ้านและแม่บ้าน พนักงานรัฐวิสาหกิจ
..........................2. ..เมื่อถามว่าทราบหรือไม่ว่าเมื่อเดือนตุลาคม 2545 ที่ผ่านมา มีการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม
............................... กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 67.3 ระบุว่าทราบ
............................... ร้อยละ 32.7 ระบุว่าไม่ทราบ
..........................3. ..สำหรับคำถามความพึงพอใจต่อการให้บริการประชาชนของหน่วยงานราชการ ภายหลังจากการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
............................... กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 54.3 ระบุว่าดีขึ้น
............................... ร้อยละ 32.8 ระบุว่าเหมือนเดิม
............................... ร้อยละ 2.6 ระบุว่าแย่ลงกว่าเดิม
............................... และร้อยละ10.3 ไม่มีความเห็น
..........................4. ..ส่วนคำถามว่าการควบคุม หรือปราบปรามการคอรัปชั่นในวงราชการ ภายหลังจากการปรับโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม
............................... เป็นอย่างไร
............................... กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 41.4 ระบุว่าดีขึ้น
............................... ร้อยละ 38.9 ระบุว่าเหมือนเดิม
............................... ร้อยละ 7.5 ระบุว่าแย่ลงกว่าเดิม
............................... และร้อยละ 12.2 ไม่มีความเห็น
..........................5. ..เมื่อถามคิดว่าการแก้ไขระบบอุปถัมภ์เป็นระบบคุณธรรม เช่น การช่วยเหลือพรรคพวกเดียวกัน ภายหลังจากการปรับ
............................... โครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
............................... กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 22.6 ระบุว่าดีขึ้น
............................... ร้อยละ 49.2 ระบุว่าเหมือนเดิม
............................... ร้อยละ 9.2 ระบุว่าแย่ลงกว่าเดิม
............................... และร้อยละ19.0 ไม่มีความเห็น
..........................6. ..สำหรับคำถามว่าความยุ่งยากในการติดต่อราชการ ภายหลังจากการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
............................... กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 55.4 ระบุว่าดีขึ้น
............................... ร้อยละ 32.4 ระบุว่าเหมือนเดิม
............................... ร้อยละ 4.7 ระบุว่าแย่ลงกว่าเดิม
............................... และร้อยละ 7.5 ไม่มีความเห็น
..........................7. ..ส่วนคำถามว่าการป้องกันการแทรกแซงทางการเมือง เช่น การเป็นฐานเสียงทางการเมืองของข้าราชการ ภายหลังจาก
............................... การปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
............................... กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 20.9 ระบุว่าดีขึ้น
............................... ร้อยละ 42.6 ระบุว่าเหมือนเดิม
............................... ร้อยละ 10.6 ระบุว่าแย่ลงกว่าเดิม
............................... และร้อยละ 25.9 ไม่มีความเห็น
..........................8. ..และเมื่อถามว่าพอใจผลงานของกระทรวงใดมากที่สุด ภายหลังจากการปรับโครงสร้างกระทรวง
............................... กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 22.6 ระบุว่ากระทรวงมหาดไทย
............................... ร้อยละ 20.3 ระบุว่ากระทรวงสาธารณสุข
............................... ร้อยละ 8.1 ระบุว่ากระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา
............................... ร้อยละ 5.9 ระบุว่ากระทรวงกลาโหม
............................... และร้อยละ 5.5 ระบุว่ากระทรวงการคลัง
 
ตารางแสดงการประมวลผลข้อมูล
 
.............................................................ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรศาสตร์
   จำนวน ร้อยละ
เพศ :    
            ชาย 680 49.8
             หญิง 685 50.2
อายุ :    
            18 – 25 ปี 319 23.4
            26 – 35 ปี 433 31.7
            36 – 45 ปี 410 30.0
            มากกว่า 45 ปี 203 14.9
การศึกษา:    
            ประถมศึกษา 110 8.1
            มัธยมศึกษา 303 22.2
            ปวช. 152 11.1
            ปวส./อนุปริญญา 173 12.7
            ปริญญาตรี 545 39.9
            สูงกว่าปริญญาตรี 82 6.0
อาชีพ :    
            พนักงานบริษัทเอกชน 347 25.4
            ค้าขาย 194 14.2
            นักศึกษา 194 14.2
            เจ้าของกิจการ 164 12.0
            รับจ้างทั่วไป 162 11.9
            รับราชการ 103 7.5
            พ่อบ้าน/แม่บ้าน 90 6.6
            พนักงานรัฐวิสาหกิจ 66 4.8
            อาชีพอื่น ๆ 45 3.3
.............................................................ตารางที่ 2 ท่านทราบหรือไม่ว่าเมื่อเดือนตุลาคม 2545 ที่ผ่านมา มีการปรับโครงสร้าง
............................................................................... กระทรวง ทบวง กรม
   จำนวน ร้อยละ
ทราบ 918 67.3
ไม่ทราบ 447 32.7
............................................................. ตารางที่ 3 ท่านคิดว่า ความพึงพอใจต่อการให้บริการประชาชนของหน่วยงานราชการ
............................................................................... ภายหลังจากการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
  จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 741 54.3
เหมือนเดิม 448 32.8
แย่ลงกว่าเดิม 36 2.6
ไม่มีความเห็น 140 10.3
............................................................. ตารางที่ 4 ท่านคิดว่า การควบคุม หรือปราบปรามการคอรัปชั่นในวงราชการ
............................................................................... ภายหลังจากการปรับโครงสร้าง กระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
  จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 565 41.4
เหมือนเดิม 531 38.9
แย่ลงกว่าเดิม 103 7.5
ไม่มีความเห็น 166 12.2
............................................................. ตารางที่ 5 ท่านคิดว่า การแก้ไขระบบอุปถัมภ์เป็นระบบคุณธรรม เช่น การช่วยเหลือ
............................................................................... พรรคพวกเดียวกัน ภายหลังจากการปรับโครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม
............................................................................... เป็นอย่างไร
  จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น 308 22.6
เหมือนเดิม
672 49.2
แย่ลงกว่าเดิม 125 9.2
ไม่มีความเห็น 260 19.0
............................................................. ตารางที่ 6 ท่านคิดว่า ความสะดวกในการติดต่อราชการ ภายหลังจากการปรับ
............................................................................... โครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
  จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น
756 55.4
เหมือนเดิม 442 32.4
แย่ลงกว่าเดิม 64 4.7
ไม่มีความเห็น 103 7.5
............................................................. ตารางที่ 7 ท่านคิดว่า การป้องกันการแทรกแซงทางการเมือง เช่น การเป็น
............................................................................... ฐานเสียงทางการเมืองของข้าราชการ ภายหลังจากการปรับ
............................................................................... โครงสร้างกระทรวง ทบวง กรม เป็นอย่างไร
  จำนวน ร้อยละ
ดีขึ้น
285 20.9
เหมือนเดิม 581 42.6
แย่ลงกว่าเดิม 145 10.6
ไม่มีความเห็น 354 25.9
............................................................. ตารางที่ 8 ท่านพอใจผลงานของกระทรวงใดมากที่สุด ภายหลังจากการปรับ
............................................................................... โครงสร้างกระทรวง (5 อันดับแรก)
  จำนวน ร้อยละ
กระทรวงมหาดไทย
308 22.6
กระทรวงสาธารณสุข 277 20.3
กระทรวงการท่องเที่ยวและการกีฬา 110 8.1
กระทรวงกลาโหม 81 5.9
กระทรวงการคลัง 75 5.5
สามารถทำการ Vote ได้วันละ 1 ครั้ง
Vote :  ดีมาก(5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) แย่ (1)  
Download document file :   (  )

ศูนย์วิจัยกรุงเทพโพลล์ ( Email : research@bu.ac.th )

โทร. 0-2350-3500 ต่อ 1776